การคำนวณค่าความเสียหายทางเศรษฐศาสตร์

ค่า PM2.5 เฉลี่ยตลอดปีมีค่า (μg/m3)

จังหวัด

อ้างอิงจากสถานี ศาลากลาง อ.เมือง (35T) และ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย (36T) ณ ปี 2560

เมื่อเทียบค่า PM2.5 กับค่ามาตรฐานของ WHO (10 μg/m3)
ค่าความเต็มใจจ่ายต่อคนบาทต่อปี
ค่าความเต็มใจจ่ายของประชากรทั้งจังหวัดบาทต่อปี
เมื่อเทียบค่า PM2.5 กับค่ามาตรฐานของไทย (25 μg/m3)
ค่าความเต็มใจจ่ายต่อคน บาทต่อปี
ค่าความเต็มใจจ่ายของประชากรทั้งจังหวัดบาทต่อปี

หมายเหตุ

อ้างอิงค่าความเต็มใจจ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อปีเพื่อลดปริมาณ PM2.5 คิดเป็น 80% ของวันที่มีค่า PM2.5 เกินมาตรฐานของประเทศจีนตอนบน 602 (CNY) x 3.55 (GDP THB/CNY)=2,136.42 บาท (Wei & Wu, 2017)

ค่า PM 10 เฉลี่ยตลอดปีมีค่า (μg/m3)

จังหวัด

เมื่อเทียบค่า PM10 กับค่ามาตรฐานของ WHO (20 μg/m3)
ค่าความเต็มใจจ่ายต่อครัวเรือน บาทต่อปี
ค่าความเต็มใจจ่ายของครั้วเรือนทั้งจังหวัดบาทต่อปี
เมื่อเทียบค่า PM10 กับค่ามาตรฐานของไทย (50 μg/m3)
ค่าความเต็มใจจ่ายต่อครัวเรือนบาทต่อปี
ค่าความเต็มใจจ่ายของครั้วเรือนทั้งจังหวัดบาทต่อปี

หมายเหตุ

อ้างอิงค่าความเต็มใจจ่ายขั้นต่ำต่อครัวเรือนต่อปีต่อไมโครกรัมที่เพิ่มขึ้น ของเชียงใหม่ 1,843 บาท ลำพูน 2,938 บาท ลำปาง 2,523บาท แม่ฮ่องสอน 1,863 บาท (ดัดแปลงจาก ผศ.ดร. วิษณุ อรรถวานิช คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรฯ)

โดยการศึกษาใช้แนวคิด Subjective Well-Being ซึ่งมีข้อสมมติว่าสิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในปัจจัยที่กำหนดคุณภาพชีวิตที่วัดจาก “ความพึงพอใจในชีวิต” (Life satisfaction) ที่ถูกประมาณให้เป็นฟังก์ชันของปัจจัยต่างๆ อาทิ รายได้ สิ่งแวดล้อม โดยมีการควบคุมปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ประชากรศาสตร์ และปัจจัยเชิงพื้นที่ จากนั้นใช้วิธีทางเศรษฐมิติเพื่อประมาณมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายหน่วยสุดท้าย (Marginal Willingness to Pay: MWTP) ที่แอบแฝงอยู่กับความพึงพอใจ

CCDC : Climate Change Data Center